การเขียนตาราง ASCII | ||
ข้อควรทราบ |
|
การเขียนตาราง ASCII แบบที่ 1 |
พิมพ์ตารางอย่างง่าย ๆ ไม่ต้องจัดอะไรมาก แต่ใช้ความสามารถของ function chr เป็นหลัก และใช้การทำซ้ำด้วย for เพราะสั้น และง่ายกว่า while สำหรับหน้าที่แบบนี้ โปรแกรมนี้ใช้หลักการทำซ้ำ ชุดเดียว ด้วยคำสั่ง for และปิดด้วย next |
ตัวอย่างคำสั่ง | ตัวอย่างผลลัพธ์ |
<% for n=0 to 255 response.write( n & chr(n) &"<br>") next %> |
0 .. 1 .. 2 .. 3 .. 4 .. 5 .. 6 .. 7 .. 8 .. 9 .. 10 .. ไปจนถึง 255 |
การเขียนตาราง ASCII แบบที่ 2 |
ตาราง ASCII นี้ พิมพ์บรรทัดละ 16 ไปจนครบ 256 ดูง่ายกว่าแบบที่ 1 อีกหน่อย แต่เขียนยากกว่าอีกนิด ลองดูผลลัพธ์ แล้วบอกสิครับว่า อักษร z มีรหัส ASCII เป็นเลขอะไร โปรแกรมนี้จะใช้ For ซ้อน For ทำให้พิมพ์แยกบรรทัดได้ในลักษณะหนึ่ง |
ตัวอย่างคำสั่ง | ตัวอย่างผลลัพธ์ |
<% for n=0 to 15 for i = 0 to 15 response.write( n*16+i & chr(n * 16 + i) & " ") next response.write( "<hr>") next %> |
0.. 1.. 2.. ... 16.. ... ... ... ... .... ไปจนถึง 255 |
การเขียนตาราง ASCII แบบที่ 3 |
ตาราง ASCII นี้ พิมพ์บรรทัดละ 8 ไป 32 บรรทัด ทำให้ครบ 256 ใช้หลักการทำซ้ำเพื่อสร้างตาราง ต้องมีความเข้าใจเรื่องตาราง มากพอสมควร จึงจะเข้าใจวิธีนี้ ลองดูผลลัพธ์ แล้วบอกสิครับว่า อักษร A มีรหัส ASCII เป็นเลขอะไร โปรแกรมนี้แสดงให้เห็นการ ใช้ For ซ้อน For ร่วมกับตาราง และเพิ่มส่วนกำหนด Body เพื่อให้เห็นการเขียนร่วมกับ html มากขึ้น |
ตัวอย่างคำสั่ง | ตัวอย่างผลลัพธ์ |
<% response.write("<body bgcolor=#ddffdd>") response.write("<table width=100% border=2>") for c=0 to 7 response.write("<td bgcolor=#ffffdd><font face=system>"; for n=0 to 32 response.write( c*32+n & " - " & chr(c * 32 + n)) response.write( "<br>" ) next response.write( "</td>") next response.write("</table>") response.write("</body>") %> |
0... 32.. 64.. ... 1... 33.. .... ... .... .... .... ... 15.. 63.. 95.. ... |
แบบฝึกหัด |
|