วันหยุด วันหยุดประจำปี และวันสำคัญ แยกธนาคาร และราชการ 2556 | ||
วันหยุด (ธนาคาร และ ราชการ) ปีพ.ศ. 2556 | ||||
วันในสัปดาห์ | วันที่ | เหตุการณ์ | ธนาคาร | ราชการ |
อังคาร | 1 มกราคม | วันขึ้นปีใหม่ (New Year's Days) | 1. วันหยุด | 1. วันหยุด |
จันทร์ | 25 กุมภาพันธ์ | วันมาฆบูชา (Makha Bucha Day) (วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3) | 2. วันหยุด | 2. วันหยุด |
เสาร์ | 6 เมษายน | วันจักรี (Chakri Memorial Day) | - | - |
จันทร์ | 8 เมษายน | ชดเชย วันจักรี (Chakri Memorial Day) | 3. วันหยุด | 3. วันหยุด |
ศุกร์ | 12 เมษายน | เพิ่มวันหยุดราชการ อำนวยความสะดวกในการเดินทางกลับวันสงกรานต์ # # | 4. วันหยุด | |
เสาร์ | 13 เมษายน | วันสงกรานต์ (Songkran Festival Day) | - | - |
อาทิตย์ | 14 เมษายน | วันสงกรานต์ (Songkran Festival Day) | - | - |
จันทร์ | 15 เมษายน | วันสงกรานต์ (Songkran Festival Day) | 4. วันหยุด | 5. วันหยุด |
อังคาร | 16 เมษายน | ชดเชย วันสงกรานต์ (Songkran Festival Day) | 5. วันหยุด | 6. วันหยุด |
พุธ | 1 พฤษภาคม | วันแรงงานแห่งชาติ (National Labour Day) | 6. วันหยุด | |
อาทิตย์ | 5 พฤษภาคม | วันฉัตรมงคล (Coronation Day) | - | - |
จันทร์ | 6 พฤษภาคม | ชดเชย วันฉัตรมงคล (Coronation Day) | 7. วันหยุด | 7. วันหยุด |
จันทร์ | 13 พฤษภาคม | วันพืชมงคล (Royal Ploughing Ceremony Day) | 8. วันหยุด | |
ศุกร์ | 24 พฤษภาคม | วันวิสาขบูชา (Visakha Bucha Day) (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) | 8. วันหยุด | 9. วันหยุด |
จันทร์ | 1 กรกฎาคม | วันหยุดภาคครึ่งปี ธนาคาร (Mid-year Bank Holiday) | 9. วันหยุด | |
จันทร์ | 22 กรกฎาคม | วันอาสาฬหบูชา (Asarnha Bucha Day) (ธปท.) (วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8) | 10. วันหยุด | 10. วันหยุด |
อังคาร | 23 กรกฎาคม | วันเข้าพรรษา (Buddhist Lent Day) (ธนาคารไม่หยุดวันนี้) (วันแรม 1 ค่ำเดือน 8) | 11. วันหยุด | |
จันทร์ | 12 สิงหาคม | วันแม่ (H.M. The Queen's BirthDay) | 11. วันหยุด | 12. วันหยุด |
พุธ | 23 ตุลาคม | วันปิยมหาราช (Chulalongkorn Memorial Day) | 12. วันหยุด | 13. วันหยุด |
พฤหัสบดี | 5 ธันวาคม | วันชาติ / วันพ่อ (H.M. The King's BirthDay) | 13. วันหยุด | 14. วันหยุด |
อังคาร | 10 ธันวาคม | วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ (Constitution Day) | 14. วันหยุด | 15. วันหยุด |
จันทร์ | 30 ธันวาคม | ครม. ประกาศวันหยุดราชการเพิ่มเติมเป็นกรณีพิเศษ # | 16. วันหยุด | |
อังคาร | 31 ธันวาคม | วันสิ้นปี (New Year's Eve) | 15. วันหยุด | 17. วันหยุด |
วันในสัปดาห์ | วันที่ | เหตุการณ์ | ธนาคาร | ราชการ |
|
|
โทร.08-1992-7223 ผู้อาสารวบรวม |
ข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายวันหยุด และวันหยุดชดเชย | |
หลักของวันหยุดราชการ
ถ้ามีวันหยุดนักขัตฤกษ์ ติดต่อกัน 2 วันที่ตรงกับวันเสาร์ - อาทิตย์ จะให้หยุดชดเชยเพียงวันเดียวในวันทำงานปกติ ยกเว้นว่าจะมีประกาศจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เป็นกรณีไป .. จาก มาตรา ๒๙ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ที่ระบุว่า "หยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณีในวันทำงานถัดไป" วันหยุดตามประเพณีมีถึง 17 วัน แต่กฎหมายบอกว่าไม่น้อยกว่า 13 วัน ถ้าหน่วยงานเอกชนใดจะเลือกเพียง 13 วัน ก็ต้องพิจารณากันเอง ดังนี้ วันขึ้นปีใหม่ วันมาฆบูชา วันจักรี วันสงกรานต์ 3 วัน วันแรงงานแห่งชาติ วันฉัตรมงคล (วันพืชมงคล ธนาคารไม่หยุด) วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา (วันเข้าพรรษา ธนาคารไม่หยุด) วันแม่ วันปิยมหาราช วันพ่อ วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ วันสิ้นปี |
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มีสาระสำคัญดังนี้
1. วันทำงานไม่เกินสัปดาห์ละ 6 วัน 2 . กำหนดเวลาทำงานปกติในทุกประเภทไม่เกิน 8 ชั่วโมง / วัน หรือไม่เกิน 48 ชั่วโมง / สัปดาห์ ถ้าเป็นการทำงานอันตรายต่อสุขภาพตามกฏกระทรวง กำหนดให้ทำงานไม่เกิน 7 ชั่วโมง / วัน หรือไม่เกิน 42 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3 . กำหนดเวลาพักระหว่างวันทำงาน ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง อาจตกลงพักน้อยกว่าครั้งละ 1 ชั่วโมงก็ได้ แต่รวมกันไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง / วัน 4 . กำหนดให้มีวันหยุดประจำสัปดาห์ ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน ห่างกันไม่เกิน 6 วัน และวันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่าปีละ 13 วัน (รวมวันแรงงานแห่งชาติแล้ว) สำหรับวันหยุดผักผ่อนประจำปี ไม่น้อยกว่า 6 วันทำการ เมื่อลูกจ้างทำงานครบ 1 ปี http://www.phuketlabour.org/law.htm ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ฯ มาตรา ๒๙ กำหนดว่า " ให้นายจ้างประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณีให้ลูกจ้างทราบเป็นการล่วงหน้าปีหนึ่งไม่น้อยกว่าสิบสามวันโดยรวมวันแรงงานแห่งชาติตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ให้นายจ้างพิจารณากำหนดวันหยุดตามประเพณีจากวันหยุดราชการประจำปีวันหยุดทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น ในกรณีที่วันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์ของลูกจ้างให้ลูกจ้างได้หยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณีในวันทำงานถัดไป ในกรณีที่นายจ้างไม่อาจให้ลูกจ้างหยุดตามประเพณีได้เนื่องจากลูกจ้างทำงานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานตามที่กำหนดในกฎกระทรวงให้นายจ้างตกลงกับลูกจ้างว่าจะหยุดในวันอื่นชดเชยวันหยุดตามประเพณีหรือนายจ้างจะจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้ก็ได้" http://law.siamhrm.com/?file=law-020 |
กำเนิดปฏิทิน ข้อมูลจาก http://www.lib.ru.ac.th
ปฏิทินไทย |
วันตรุษจีน ข้อมูลจาก http://www.infoplease.com
ข้อมูลประกอบตรุษจีน
| + thaiall blog + facebook photo |
การถวายผ้าจำนำพรรษา เป็นกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของชาวพุทธอีกรูปแบบหนึ่ง
|
ประวัติวันวาเลนไทน์ (Valentines History)
คติเตือนใจวันแห่งความรัก
| + ไม่โหดร้าย ไม่มือไว ไม่ใจเร็ว ไม่พูดปด ไม่หมดสติ + วัยพึ่ง วัยพบ วัยเพียร วัยพัก วัยพราก ความหมายของสีดอกกุหลาบ + กุหลาบแดง (Red Rose) + กุหลาบขาว (White Rose) + กุหลาบชมพู (Pink Rose) + กุหลาบเหลือง (Yellow Rose) |
ความเชื่อเรื่อง วันห้ามต่าง ๆ ของไทย
ข้อมูลจาก oknation.net
ความเชื่อเรื่องวันห้าม
| - ห้ามขึ้นบ้านใหม่วันเสาร์ เพราะเชื่อกันว่าวันเสาร์เป็นวันแรง ถ้าขึ้นบ้านใหม่ในวันนี้แล้วจะทำให้ชีวิตครอบครัวอยู่กันอย่างไม่เป็นปกติสุข - ห้ามเผาผีวันศุกร์ เพราะเชื่อว่าวันศุกร์เป็นวันแห่งโชคลาภ และความรื่นเริง หากเกิดการเผาผีขึ้นในวันนี้แล้วจะก่อให้เกิดเรื่องร้ายขึ้นดังคำกล่าวที่ว่า เผาผีวันศุกร์ ให้ทุกข์แก่คนยัง - ห้ามโกนจุกวันอังคาร เพราะเชื่อว่าวันอังคารเป็นวันแข็ง หากโกนจุกในวันนี้แล้วอาจเกิดเรื่องร้ายแรง อาทิ อุบัติเหตุขึ้นกับผู้ถูกโกนจุกได้ - ห้ามแต่งงานวันพุธ เพราะเชื่อกันว่าวันพุธเป็นวันที่ไม่มีความมั่นคง หากแต่งงานในวันพุธแล้วจะทำให้ชีวิตแต่งงานพบแต่อุปสรรค - วันพุธห้ามตัด เพราะเชื่อกันว่าวันพุธเป็นวันแห่งความเจริญงอกงาม จึงห้ามตัดสิ่งต่างๆในวันพุธ อาทิ การตัดต้นไม้ต่างๆ รวมทั้งร้านตัดผมก็ยังนิยมหยุดให้บริการในวันพุธ เป็นต้น - วันพฤหัสห้ามถอน เพราะเชื่อกันว่าวันพฤหัสเป็นวันแห่งความมั่งคั่ง ดังนั้นการถอดถอนต้นไม้ เสาเรือน หรือถอดถอนสิ่งสำคัญต่างๆจึงพึงงดในวันดังกล่าว |
กฎหมายคุ้มครอง .. แรงงานรับใช้ในบ้าน
1. ลูกจ้างต้องมีวันหยุดประจำสัปดาห์ ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน 2. นายจ้างต้องกำหนดวันหยุดตามประเพณี ปีละไม่น้อยกว่า 13 วัน ซึ่งรวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย และหากวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์ ให้ลูกจ้างหยุดเป็นวันหยุดชดเชยเพิ่มอีก 1 วัน 3. ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปี ปีละไม่เกิน 6 วันทำงาน 4. ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาป่วยตามที่ป่วยจริงได้ และหากลา 3 วันขึ้นไป นายจ้างสามารถขอใบรับรองแพทย์ยืนยันจ้างลูกจ้างได้ 5.กรณีลูกจ้างเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้กับเด็กโดยตรง 6. ลูกจ้างที่ทำงานในวันหยุด ต้องได้รับเงินค่าจ้างด้วย 7. ลูกจ้างต้องได้ค่าจ้างในวันที่ลาป่วย โดยไม่เกิน 30 วันทำงาน + http://www.thaiall.com/blogacla/admin/2151/ + http://www.thailaws.com/law/thaiacts/code174.pdf + http://news.voicetv.co.th/thailand/55825.html + http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1352735089&grpid=03 |
ครั้งแรก หรือ การเริ่มต้น | |||
+ | เหตุการณ์ | ช่วงเวลา | แหล่งอ้างอิง |
+ | โลก ดวงอาทิตย์ และระบบสุริยะกำเนิดขึ้นมาพร้อมกัน | 4600 ล้านปี | http://www.origins-earth-life.com |
+ | หลักฐานเกี่ยวกับปฏิทิน ครั้งแรกในเมืองไทย (ปลายสมัยรัชกาลที่ 3)
คาดว่าโรงพิมพ์หมอบรัดเลย์เป็นผู้จัดพิมพ์ | 14 ม.ค. 2385 | http://www.lib.ru.ac.th |
+ | รัชกาลที่ 4 โปรดให้พิมพ์ปฏิทินภาษาไทย
ปรากฏหลักฐานใน หนังสือบางกอกคาเลนดาร์ หน้า 108 | 12 มี.ค. 2404 | |
+ | มีการพิมพ์ปฏิทินขาย ชื่อ "ประนินทิน" เป็นของโรงพิมพ์หมอสมิท
ราคาเล่มละ 4 บาท | รัชกาลที่ 5
2411 2453 | |
+ | ธนบัตร หรือ อัฐกระดาษ ถูกนำมาใช้แต่ไม่เป็นที่นิยม
ออกธนบัตรอีกครั้ง ในชนิด 5, 10, 20, 100, 1000 บาท | รัชกาลที่ 5 2435 2445 | http://www.tv5.co.th
http://www.heritage.thaigov.net |
+ | เริ่มจากการมีบริษัทเดนมาร์กใช้รถรางไฟฟ้า ในปีพ.ศ.2437
มีองค์กรที่ดำเนินกิจการไฟฟ้า 2 แห่ง คือ การไฟฟ้ากรุงเทพ และกองไฟฟ้าหลวงสามเสน ประเทศไทยเริ่มจำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ประชาชนอย่างเป็นทางการราวต้นปีพ.ศ. 2457 | รัชกาลที่ 5 2437 | http://www.mea.or.th |
+ | มีบันทึกว่า พบรถยนต์ 3 คันเข้ามาวิ่งตามถนนในเมืองบางกอก | 2447 | http://www.baanjomyut.com
http://www.chuansin.com http://www.thaiall.com/blogacla/admin/177/ |
+ | พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2486
ให้ประชาชนในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี ทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก | รัชกาลที่ 8 2486 | http://www.nurnia.com
http://www.seedang.com |
+ | พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2505 ขนาด 6*9 ซม.
เป็นการจัดทำบัตรจากส่วนกลาง โดยออกบัตรเหลืองจนกว่าส่วนกลางจะส่งกลับมา | รัชกาลที่ 9 2505 | |
+ | บัตรประชาชนเปลี่ยนจากสีขาวดำเป็นสีธรรมชาติ
เริ่มใช้บัตรแถบแม่เหล็ก ผลิตบัตรแบบรอรับได้ เริ่าใช้บัตรอเนกประสงค์ หรือสมาร์ทการ์ด | 2531 2539 2547 | |
+ | โฉนดที่ดินฉบับแรกเป็นของพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ต.บ้านแป้ง อ.พระราชวัง จ.กรุงเก่า (พระนครศรีอยุธยา) 89-1-52 ไร่ | 1 ต.ค.2444 | http://www.dol.go.th
http://www.thaihomeonline.com |
+ | ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497
ใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินและหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน | 2497 | |
+ | สร้างอารามเล็ก ๆ เป็นวัดไหล่หินหลวง หรือ วัดเสลารัตนปัพพตาราม อ.เกาะคา จ.ลำปาง
และ พระวิหาร ร่วมสร้างโดย พระมหาป่าเกสร ปัญโญ และเจ้าฟ้าเมืองเชียงตุง | 2181 (370 ปี)
2226 (325 ปี) | http://www.chiangmainews.co.th
http://www.laihin.org http://www.onab.go.th |
+ | เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตครั้งแรกในประเทศไทย โดยสำนักวิทยบริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความเร็ว 9600 บิทต่อวินาที | 2536 | http://www.satitm.chula.ac.th |
+ | ระบบโทรเลขนำมาใช้ครั้งแรก ปีพ.ศ. 2418
และยกเลิกบริการรับส่งโทรเลข ไปแล้ว | 2418
1 พ.ค. 2551 | เผยแพร่ข่าวสารทางทีวี |
เปรียบเทียบรูปแบบการทานอาหารจำแนกตามช่วงเวลา
|
|
"ไม่เริ่มต้นในวันนี้ จะไม่มีทางสำเร็จในวันพรุ่ง" โดย โยฮัน ว็อล์ฟกัง ฟ็อน เกอเทอ |