1. ส่งเสริมให้มีการผลิตผลงานทางวิชาการที่มีประโยชน์ |
| | | | |
2. ช่วยสนับสนุนให้พัฒนาตนเองทางด้านวิชาการ |
| | | | |
3. ได้รับคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนางานในมิติต่างๆ |
| | | | |
4. ได้รับการติดตามและประเมินผลเป็นระยะ |
| | | | |
5. มีส่วนร่วมรับผิดชอบตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ |
| | | | |
6. ประกันคุณภาพช่วยให้เห็นถึงมาตรฐานกลางและมาตรฐานส่วนท้องถิ่น |
| | | | |
7. อัตลักษณ์และเอกลักษณ์เหมาะสมกับผลผลิตทางวิชาการ |
| | | | |
8. สนับสนุนให้การทำผลงานทางวิชาการมีความเหมาะสม |
| | | | |
9. ผลการดำเนินงานนำไปสู่การพิจารณาความดีความชอบ |
| | | | |
10. ทำให้บัณฑิตมีคุณภาพ |
| | | | |
11. แสดงให้เห็นระดับความสามารถในการแข่งขันทางการศึกษา |
| | | | |
12. งานได้รับการพัฒนาตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ |
| | | | |
13. ได้รับความร่วมมือกับผู้ร่วมงานทุกคน |
| | | | |
14. ทุกคนได้ทำตามหน้าที่และความรับผิดชอบ |
| | | | |
15. ผู้บริหารให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ |
| | | | |
16. ทีมงานประกันคุณภาพมีความเป็นกัลยาณมิตร |
| | | | |
17. มีการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพโดยทำจนเป็นนิสัย |
| | | | |
18. ช่วยให้สถาบันบริหารงานได้ตรงตามบริบทของตนเอง |
| | | | |
19. ทำให้การประกันคุณภาพภายในและภายนอกเป็นเรื่องเดียวกัน |
| | | | |
20. มีกระบวนการประกันคุณภาพชัดเจน |
| | | | |
21. กระบวนการประกันคุณภาพมีความยืดหยุ่น |
| | | | |
22. ผู้ประเมินเข้าใจและมีความรู้ในหน่วยงานที่จะไปประเมิน |
| | | | |
23. ผู้ประเมินมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยงานที่ไปประเมิน |
| | | | |
24. ช่วยให้เกิดการสร้างความเข้าใจระหว่างกันในสถาบัน |
| | | | |
25. ผู้ประเมินให้ข้อเสนอแนะในเชิงพัฒนา |
| | | | |
26. ผู้ประเมินมีกัลยาณมิตรในการประเมิน |
| | | | |
27. ภูมิใจที่เห็นงานมีคุณภาพ |
| | | | |
28. การประกันคุณภาพก่อให้เกิดความคิดใหม่ๆ |
| | | | |
29. ทีมงานประกันคุณภาพได้รับการยอมรับ |
| | | | |
30. เครื่องมือที่ใช้ในการประกันคุณภาพมีประสิทธิภาพ |
| | | | |
31. ทำงานได้สอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และแผน |
| | | | |
32. ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติการทำงานที่ได้มาตรฐาน |
| | | | |
33. มีเอกสารและแบบฟอร์มสนับสนุนที่เหมาะสม |
| | | | |
34. สร้างความผูกพันกับสถาบัน |
| | | | |
35. สร้างค่านิยมประกันคุณภาพในสถาบัน |
| | | | |
36. ความทุ่มเทและความพยายามที่จะทำประโยชน์ให้สถาบัน |
| | | | |
37. เกิดความคิดสร้างสรรค์ที่จะนำเสนอแนวทางใหม่ๆ ในการทำงาน |
| | | | |
38. มีความก้าวหน้าในอาชีพสายวิชาการ |
| | | | |
39. ได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงานและสถาบัน |
| | | | |
40. การยกย่องจากผู้บริหารสถาบันและเพื่อนร่วมงาน |
| | | | |
41. มีการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีในการทำงาน |
| | | | |
42. ความสบายใจในการทำงาน |
| | | | |
43. มีอาสาสมัครเพิ่มมากขึ้นในการทำงานด้านต่างๆ |
| | | | |
44. ได้รับการส่งเสริมให้ทำงานตามความถนัดของตนเองได้อย่างเต็มที่ |
| | | | |
45. ปัญหาเชิงนโยบายและในการบริหารสถาบันได้รับการแก้ไข |
| | | | |
46. มีการจัดระเบียบอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม |
| | | | |
47. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิดความศรัทธาในสถาบัน |
| | | | |
48. การเห็นคุณค่าและประโยชน์ที่แท้จริงจากการทำงาน |
| | | | |
49. มีระบบประกันคุณภาพที่ส่งเสริมให้ทุกคนทำงานร่วมกัน |
| | | | |
50. เข้าใจและสามารถเขียนรายงานการประเมินคุณภาพได้เอง |
| | | | |
51. ได้ทราบผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่นำไปสู่การกำหนดแนวทางพัฒนา |
| | | | |
52. คณะหรือมหาวิทยาลัย ผ่านการประเมินในระดับที่น่าพอใจ |
| | | | |
53. มีจำนวนบุคลากรฝ่ายสนับสนุนเพียงพอกับภาระงาน |
| | | | |
54. บุคลากรฝ่ายสนับสนุนมีความรู้และทักษะในการทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
55. ข้อมูลผลการดำเนินงานและหลักฐานครบถ้วนสมบูรณ์ตามตัวบ่งชี้ |
| | | | |
56. ผลการดำเนินงานสะท้อนคุณภาพที่เป็นจริงของสถาบัน |
| | | | |
57. มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน |
| | | | |
58. ผู้ประเมินให้คำแนะนำอย่างจริงใจและมีความบริสุทธิ์ใจ |
| | | | |
59. ผู้บริหารสถาบันมีทัศนคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพ |
| | | | |
60. บุคลากรของสถาบันมีทัศนคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพ |
| | | | |
61. ทำให้บุคลากรในหน่วยงานและสถาบันมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน |
| | | | |
62. พึงพอใจในการทำงานประกันคุณภาพ |
| | | | |
63. ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ |
| | | | |
64. มีการทำงานเป็นระบบมากขึ้น |
| | | | |
65. การสืบค้นข้อมูลผลการดำเนินงานต่างๆ ทำได้ง่าย |
| | | | |
66. เอื้อให้บุคลากรเกิดความมุ่งมั่นในการทำงานอย่างต่อเนื่อง |
| | | | |
67. ความรู้สึกเป็นเจ้าของสถาบัน |
| | | | |
68. ผลการประเมินได้รับการยอมรับ |
| | | | |
69. ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง |
| | | | |
70. ทำให้สามารถออกแบบอนาคตตนเองได้อย่างดีในเส้นทางวิชาชีพอาจารย์ |
| | | | |
71. การไม่โดนบังคับให้ทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
72. การทำประกันคุณภาพเกิดมาจากแรงจูงใจที่อยากจะทำเอง |
| | | | |
73. เข้าใจในหลักการของ PDCA และสามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้ |
| | | | |
74. การรับรู้ว่าได้ทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวม |
| | | | |
75. มีเครือข่ายการประกันคุณภาพระหว่างสถาบันอุดมศึกษาเอกชน |
| | | | |
76. มีการแบ่งภาระงานในการทำประกันคุณภาพที่ชัดเจนโดยไม่ให้กระทบกับภาระงานปกติในสถาบัน |
| | | | |
77. ไม่มีความวิตกกังวลในการทำงาน |
| | | | |
78. ไม่มีความเครียดในการทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
79. มีการเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวบ่งชี้เป็นระยะๆ เพื่อเตรียมความพร้อม |
| | | | |
80. มีคำสั่งแต่งตั้งที่ชัดเจนโดยระบุชื่อผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้และผู้จัดเก็บข้อมูล |
| | | | |
81. ระบบการบริหารงานผูกติดกับระบบการประกันคุณภาพ |
| | | | |
82. มีระบบสารสนเทศด้านการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ |
| | | | |
83. เข้าใจประโยชน์ของการประกันคุณภาพ |
| | | | |
84. เชื่อว่าการประกันคุณภาพนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาระบบการเรียนการสอนในระยะยาว |
| | | | |
85. มีจำนวนตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมตามสมควร |
| | | | |
86. การประกันคุณภาพไม่ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง |
| | | | |
87. ไม่มีการสร้างเอกสารหรือหลักฐานใหม่เพื่อรองรับการประเมิน |
| | | | |
88. ไม่เน้นการทำเอกสารจำนวนมาก แต่ให้ความสำคัญกับการรายงานผลการดำเนินงานตามสภาพจริง |
| | | | |
89. ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพสอดคล้องกับตำแหน่งหน้าที่ |
| | | | |
90. ทุกคนเข้าใจว่าเป็นความรับผิดชอบต่อหน้าที่และต่อสถาบัน |
| | | | |
91. เอกสารและหลักฐานตามตัวบ่งชี้ถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ |
| | | | |
92. แผนพัฒนาคุณภาพมีความชัดเจนในเชิงกระบวนการ วิธีการปฏิบัติ และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในเรื่องต่างๆ จากการปรับปรุงคุณภาพ |
| | | | |
93. องค์กรที่ทำหน้าที่ประเมินคุณภาพมีความเป็นกัลยาณมิตร |
| | | | |
94. ผู้บริหารสถาบันนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพไปใช้ประโยชน์ |
| | | | |
95. ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจในระบบคุณภาพ |
| | | | |
96. มีงบประมาณเพียงพอสำหรับการประกันคุณภาพ |
| | | | |
97. อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ช่วยเหลือกันในการพัฒนาคุณภาพ |
| | | | |
98. การประกันคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของงานประจำ |
| | | | |
99. ผู้บริหารชี้แจง บอกประโยชน์ และบอกวิธีการดำเนินงานให้สำเร็จ |
| | | | |
100. ผู้บริหารรับฟังเหตุผลของอาจารย์ |
| | | | |
101. นำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนอย่างจริงจัง |
| | | | |
102. ให้คำชมเชยหรือรางวัลกับผู้ที่ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ |
| | | | |
103. มีเสรีภาพในการจัดระบบการเรียนการสอนตามวิธีการที่กำหนด |
| | | | |
104. นักศึกษาใช้กระบวนการประกันคุณภาพเพื่อการเรียนรู้ประสบการณ์ |
| | | | |
105. ผู้บริหารกำกับดูแล ติดตาม และแก้ไขปัญหาให้ดำเนินการประกันคุณภาพต่อไปได้ |
| | | | |
106. บุคลากรในสถาบันร่วมมือกันทำงานเป็นทีม |
| | | | |
107. มีอิสระในการทำงาน ตัดสินใจได้เอง |
| | | | |
108. มีขั้นตอนการควบคุมคุณภาพที่กำหนดได้เอง |
| | | | |
109. มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย แผน และการดำเนินการ |
| | | | |
110. มีจิตสำนึกถึงคุณภาพที่พึงมี |
| | | | |
111. เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
112. เข้าใจเกณฑ์ประเมินคุณภาพ |
| | | | |
113. ผู้บริหารระดับสูงเห็นคุณค่าของอาจารย์ |
| | | | |
114. ผู้บริหารระดับสูงให้รางวัลและยกย่องอาจารย์หรือหน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานดีต่อประชาคมในสถาบันการศึกษานั้นๆ |
| | | | |
115. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานในสถาบัน |
| | | | |
116. ผู้บริหารสามารถบูรณการหลายเรื่องให้เป็นเรื่องเดียวกัน |
| | | | |
117. บุคลากรพอใจในการพัฒนาคุณภาพงาน โดยไม่มีการเพิ่มปริมาณงาน |
| | | | |
118. อาจารย์มองโลกในแง่บวก |
| | | | |
119. มีความพึงพอใจในผลงานที่ทำ เช่น บัณฑิตมีคุณภาพ ผลการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคมที่มีมาตรฐานและได้รับการยอมรับ เป็นต้น |
| | | | |
120. การทำงานก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในงานที่ทำมากกว่าคะแนนที่ได้รับ |
| | | | |
121. มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนางาน |
| | | | |
122. ทำด้วยใจเพื่อให้สถาบันก้าวหน้าและประสบความสำเร็จ |
| | | | |
123. การมีวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบัน |
| | | | |
124. ความเอาใจใส่ในการทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
125. การยอมรับในประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
126. มีความศรัทธาในงานที่ทำ |
| | | | |
127. การจัดลำดับความสำคัญและความยากง่ายของงานที่ทำ |
| | | | |
128. ความภาคภูมิใจที่เห็นนักศึกษาประสบความสำเร็จ |
| | | | |
129. เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลได้รับความเห็นชอบจากทุกคนในสถาบัน |
| | | | |
130. มีคู่มือและวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนในการทำประกันคุณภาพ |
| | | | |
131. มีแผนงานที่ชัดเจน ทำตามแผน และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนเพื่อการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง |
| | | | |
132. ผู้ประเมินสามารถให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่างแท้จริง |
| | | | |
133. ผู้บริหารสามารถสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาได้ |
| | | | |
134. ส่งเสริมและผลักดันให้มีคนเก่งจำนวนมากๆ ในสถาบัน |
| | | | |
135. ต้องการรักษาคุณภาพของสถาบันที่ตนเองพึ่งพาอาศัยและเป็นที่เลี้ยงชีพ |
| | | | |